ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Spoon"

จาก TSWiki
(สร้างหน้าใหม่: Spoon)
 
แถว 1: แถว 1:
Spoon
+
'''สปูน (Spoon)''' อ่านว่า สะ-ปูน [n] แปลตามทับศัพท์ว่า ช้อน [อ.]
 +
 
 +
==ประวัติความเป็นมา==
 +
ในด้านประวัติความเป็นมา ผู้เขียนไม่อาจทราบแน่ชัด จำความได้เพียงว่าได้รับการถ่ายทอดมาในขณะร่ำเรียนอยู่ในค่าย สอวน.เคมี ที่ลาดกระบัง และไม่ทราบว่ามีชื่อเรียกอื่นหรือไม่ คิดว่าชื่อนี้คงไม่ใช่ชื่อสากลเป็นแน่
 +
 
 +
 
 +
==คำและไพ่สำคัญที่ควรทราบ==
 +
ไพ่ทุกใบมีความสำคัญเท่าเทียมกัน
 +
 
 +
==วิธีการเล่นและนับแต้ม==
 +
===ไพ่,จำนวนที่ใช้, และแต้ม===
 +
 
 +
สลาฟใช้ไพ่สำรับปกติ จำนวน 52 ใบ ไม่รวมโจ้กเกอร์สองใบ แต้มดอกเรียงตามปกติ คือ ใหญ่สุด โพธิ์ดำ->โพธิ์แดง->ข้าวหลามตัด->ดอกจิก
 +
ส่วนแต้มเลขเรียงต่างจากเกมอื่น ๆ คือ ใหญ่สุด 2->A->K->Q->J->10->9....->3 ทั้งนี้จะพิจารณาแต้มเลข ก่อนดอกเสมอ
 +
 
 +
ตัวอย่าง: ไพ่ 2 โพธิ์แดง ใหญ่กว่าไพ่ 9 โพธิ์ดำ (แต้มเลขมาก่อน) แต่ ไพ่ 2 โพธิ์แดง เล็กกว่าไพ่ 2 โพธิ์ดำ (เมื่อแต้มเลขเท่ากัน
 +
พิจารณาแต้มดอก)
 +
 
 +
นอกจากนี้ ยังมีวิธีลงหลายแบบด้วย คือ เดี่ยว (หนึ่งใบ) คู่ (สองใบ) ตอง (สามใบ) และโฟร์ท (สี่ใบ) โดยการลงแต่ละครั้ง ต้องลงไพ่เลขเดียวกัน
 +
กล่าวคือ ลงตอง 4 หมายถึง ลงไพ่เลข 4 สามใบ ไม่ใช่ ลงไพ่อะไรก็ได้สามใบ โดยทั่วไป ไพ่ตอง จะใหญ่กว่าไพ่เดี่ยว
 +
และไพ่โฟร์ทจะใหญ่กว่าไพ่คู่ วิธีการเปรียบเทียบแต้มในบรรดาคู่ ตอง โฟร์ท ใช้หลักการเปรียบเทียบเดียวกับไพ่เดี่ยวดังที่ได้อธิบายไปแล้ว
 +
 
 +
*หมายเหตุ ในกรณีที่เปรียบเทียบไพ่คู่ สองคู่ ที่มีเลขด้วย คู่ใดที่มีโพธิ์ดำอยู่ด้วย จะเป็นคู่ที่ใหญ่กว่า
 +
 
 +
===วิธีการเล่น===
 +
 
 +
เริ่มเกม สลาฟทำไพ่ แจกไพ่ทั้งห้าสิบสองใบจนหมด โดยเริ่มแจกจากสลาฟ วนหนีคิง (ในกรณีทีี่วนหนีคิงมีสองวิธี ให้เลือกวิธีที่วนหนีควีนด้วย) แจกวนไปเรือ่ย ๆ จนกระทั่งไพ่หมดกอง
 +
* ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้คนเริ่มแจกวนทางใดก็ได้ตามใจ โดยเริ่มจากคนแจก
 +
 
 +
 
 +
เปิดไพ่ของตนเองดู สลาฟ รองสลาฟ ควีน คิง ทำการแลกไพ่ให้เสร็จ ทั้งนี้ อย่าแลกไพ่ให้คนอื่นเห็น​หน้าไพ่ (และสลาฟกับรองสลาฟอย่าโกงโดยการให้ไพ่ที่ไม่ใช่ไพ่สูงสุด)
 +
* ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้ผ่านขั้นตอนการแลกไพ่ไป
 +
 
 +
 
 +
เริ่มลงไพ่ สลาฟเริ่มลงไพ่อย่างไรก็ได้ หากเริ่มเกมด้วยไพ่เดี่ยว หรือตอง คนถัดไป (นับตามการวนแจกไพ่) ต้องลงไพ่เดี่ยว หรือตองที่สูงกว่า หากเป็นไพ่คู่ หรือโฟร์ท ก็ต้องลงไพ่คู่ หรือโฟร์ทที่สูงกว่า
 +
* ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้เริ่มโดยคนที่มีไพ่ สามดอกจิก ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องลงไพ่ สามดอกจิก เป็นไพ่แรก
 +
 
 +
 
 +
หากผู้เล่นไม่ต้องการลงไพ่ในตานั้น ให้บอกว่าผ่าน ผู้เล่นคนนั้นจะไม่สามารถลงไพ่ได้อีกจนกว่าจะขึ้นกองใหม่
 +
 
 +
หากผู้เล่นทุกคนยกเว้นคนสุดท้ายที่ลงไพ่ บอกผ่าน ผู้เล่นคนสุดท้ายที่ลงไพ่ จะคว่่ำกองไพ่ที่ลงไปแล้วทั้งหมด และลงไพ่ตั้งเป็นกองใหม๋
 +
 
 +
หากผู้เล่นคนใดสามารถเล่นไพ่หมดมือเป็นคนแรก จะได้เป็นคิง คนถัดไปเป็นควีน และสองคนสุดท้ายที่ไพ่หมดมือ จะเป็นรองสลาฟ กับสลาฟ
 +
จากนั้นจึงเริ่มเกมใหม่อีกครั้ง ถ้าเล่นจนพอใจแล้วจึงเลิกรากันไปเอง
 +
 
 +
กรณีพิเศษ:
 +
 
 +
1. กรณีที่ผู้เล่นเล่นจบและทิ้งไพ่ชุดหรือใบสุดท้ายลงมา และไม่มีผู้ใดในวงลงไพ่ต่อ คนที่อยู่ไกลสุด คือ คนสุดท้ายที่มีโอกาสในวงจะกลายเป็นคนตั้งกองใหม่คนแรก และลำดับการลงไพ่ในวงจะวนกลับ แต่หากมีคนในวงลงไพ่ต่อได้ เกมก็จะดำเนินต่อไปจากไพ่ที่คนนั้นลงโดยไม่เปลี่ยนลำดับการลงไพ่ (อย่างไรก็ตาม ในบางประเพณี จะพิจารณาเฉพาะคนที่ติดกับคนเพิ่งจบเกมเท่านั้น หากตัดสินใจเล่นต่อ เกมก็จะดำเนินต่อโดยไม่เปลี่ยนลำดับไพ่ แต่หากผ่าน ก็เริ่มเกมที่คนสุดท้ายที่มีโอกาสลงในวง และเปลี่ยนลำดับการลงไพ่ในวงเป็นวนอีกทาง)
 +
 +
2. กรณีที่มีการตั้งคิง ควีน รองสลาฟ และสลาฟเรียบร้อยแล้ว หากมีคนจบเกมได้ก่อนคิง คิงจะต้องตกไปเป็นสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น
 +
 
 +
3. กรณีที่มีการตั้งคิง ควีน รองสลาฟ และสลาฟเรียบร้อยแล้ว หากมีคนเป็นควีน ภายใต้คิงองค์เดิม เป็นเวลาเกินสามรอบ ควีนจะต้องกลายเป็นสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น ทั้งนี้ หากมีคิงที่่ตกลงมาด้วย คิงจะต้องเป็นสลาฟ ควีนเป็นรองสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น
 +
 
 +
4. กรณีที่มีคนลงโฟร์ท และไม่มีคนลงโฟร์ทที่สูงกว่า แต้มของเกมจะ 'verse (มาจาก reverse) คือ ไพ่แต้มสูงสุดจะกลายเป็นไพ่แต้มต่ำสุด และไพ่แต้มต่ำสุดจะกลายเป็นไพ่สูงสุด อย่างไรก็ตาม หากมีคนลงโฟร์ทที่สูงกว่า ก็จะเป็นการหักล้าง ไม่สามารถทำการเวิร์ดแต้มได้ อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นสามารถรอโอกาส ทำการเวิร์ดแต้มในตาอื่น ๆ ได้เพื่อทำให้แต้มสูงสุดกลับมาเป็นแต้มสูงสุดดังเดิม
 +
 
 +
==จุดเด่นและความสนุก==
 +
จุดเด่นของเกมสลาฟคือว่า จะเล่นใช้ความคิดก็ได้ ไม่ใช้ความคิดก็ได้ ที่สำคัญ เป็นเกมที่พึ่งดวงเยอะมากพอสมควร อย่างไรก็ตาม มักมีคนจำแต้มไพ่และคุมเกมได้ ไม่ค่อยใช้ดวง แต่สุดท้าย ผู้เล่นประเภทนี้มักแพ้ผู้ที่มีดวงแรงอยู่ดี
 +
 
 +
ความสนุกของเกม เกิดขึ้นได้หลายแบบ
 +
 
 +
* การตบกัน มิได้หมายความว่า ผู้เล่นตบหน้าฝ่ายตรงข้าม แต่หมายความว่า เป็นการลงไพ่ที่สูงกว่าอย่างเหนือชั้น เช่น ลงตอง 2 ข่มตอง A เป็นต้น การเล่นแบบนี้จะทำให้ทุกคน "โห" และกระตุ้นให้เกมเร้าใจ และผู้ตบสามารถส่งสายตายิ้มเยาะไปให้คนถูกตบ และเกมจะสนุกมากขึ้น เมื่อมีการตบกลับ และส่่งสายตายิ้มเยาะเป็นสองเท่า
 +
 
 +
* การตัดดอก หมายถึง การที่ลงไพ่เลขเดียวกัน แต่ดอกสูงกว่า ตัดหน้าคนอื่น เช่น ไพ่หน้ากองตอนนี้คือ สามดอกจิก คนถัดมาลง สามโพธิ์ดำ แต่คนถัดไปมีสามโพธิ์แดง นับว่าเป็นการตัดดอก การตัดดอก จะเป็นการสร้างความหงุดหงิดให้แก่คนโดนตัด และทำให้ผู้อื่นในเกมรู้ว่า "ไอ้นี่มีไพ่เน่าอยู่ในมือ 55" เนื่องจากผู้ที่ถูกตัดดอกมักโมโหและมีการชักสีหน้าให้เห็นบ่อย ๆ
 +
 
 +
* การเวิร์ดแต้มจะสร้างความเจ็บแค้นให้แก่ผู้ที่มีไพ่แต้มสูง และความบันเทิงให้แก่ผู้ที่มีไพ่แต้มต่ำมาก สามารถพลิกเกมมาชนะได้อย่างง่ายดาย
 +
 
 +
* การดวลกันระหว่างสองคนสุดท้าย ถือว่าเป็นช่วงที่สนุกมากช่วงหนึ่งของเกม เพราะเป็นการประชันฝีมืออย่างหักเหลี่ยมเฉือนคม โดยเฉพาะการดวลด้วยคู่ในขณะที่อีกฝ่ายมีแต่ไพ่เดี่ยว จนกระทั่งคนเล่นคู่ไพ่หมดมือ เช่น คนมีคู่มีไพ่ คู่สาม คู่สี่ เดี่ยวห้าข้าวหลามตัด และมีสิทธิ์ลงก่อน ในขณะที่อีกฝ่ายมี K โพธิ์ดำใบเดียว แต่ได้ลงทีหลัง ฝ่ายคนมีคู่ก็จะปล่อยคู่จนหมดแล้วจึงปล่อยเดี่ยวใบสุดท้ายและชนะ ก่อให้เกิดความโกรธแค้นแก่ผู้ถือคิง แต่ดันกลายเป็นสลาฟ เป็นต้น
 +
 
 +
* เป็นประเพณีนิยม ที่คิงมักจะดูถูกสลาฟยามที่สลาฟทำไพ่(สับ+แจกไพ่) ว่า งานต่ำต้อย หรืองานสลาฟ บางครั้ง คิงก็จะบ่นเมื่อยมือเพราะไม่ได้ทำไพ่เลย ปวดเมื่อยไปหมด รวมทั้งหัวเราะหรือยิ้มเยาะผู้อื่นยามที่ตัวเองได้เป็นคิงหลายตาติดต่อกัน และยามที่คิงตกไปเป็นสลาฟ มักจะแก้ตัวว่า สงสารสลาฟ อยากทำไพ่บ้าง ฯลฯ ดังนั้น ในวงไพ่สลาฟ จะมีการดูถูกเหยียดหยามกัน ตามระบบศักดินา ข้าทาสตามชื่อเกมโดยไม่ถือสากันแต่อย่างใด
 +
 
 +
==การประยุกต์==
 +
 
 +
การประยุกต์ของไพ่สลาฟ เกิดขึ้นเมื่อมีคนเล่นน้อยกว่าสี่คน หรือทุกคนเริ่มเบื่อเกมสลาฟตามประเพณี
 +
 
 +
การประยุกต์อย่างแรกคือ สลาฟจั่ว สลาฟจั่ว มีไว้สำหรับเล่น สองคนหรือสามคน การเล่นทำได้โดยการแจกไพ่มากกว่าจำนวนคนเล่นหนึ่งกอง เมื่อแจกเสร็จจึงทำการเล่นโดยไม่มีคิง ควีน สลาฟ รองสลาฟแต่อย่างใด ทั้งนี้ ถ้าหากจะผ่าน จะต้องจั่วไพ่เพิ่มอีกหนึ่งใบจากในกองที่เกินมานั้น ความสนุกจะอยู่ทีการรอคอยตองจากใบที่จะจั่ว หรืออาจจะได้สามดอกจิกก็ได้ เรียกว่าซวย
 +
 
 +
ยังมีการประยุกต์อีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นโดยนักเรียนทุนชาติไทยปีพุทธศักราช 2549 เรียกว่า สลาฟ ultimate เข้าใจว่าเป็นเกมที่สร้างขึ้นเพื่อแก้เบื่อโดยเฉพาะ สลาฟ ultimate เป็นเกมที่เล่นกันใน ultimate tournament เท่านั้น (คือผู้เล่นทั้งสี่เบื่อโลกมากจนต้องนั่งเล่นไพ่ให้ครบทุกแบบ รวมทั้งขึ้นเกมแบบพิเศษ เรียกว่า ultimate ขึ้น) สลาฟ ultimate เล่นได้เพียงสี่คน มิได้เล่นต่อกันเป็นวงจนกระทั่งบอกผ่าน แต่จะเล่นเป็นการดวลไพ่ทีละนัด นัดละหนึ่งใบ รวมสิบสามครั้ง ใครที่ได้แต้มมากที่สุด จะกลายเป็นผู้ชนะในสลาฟ ultimate
 +
 +
[[หมวดหมู่: ไพ่]]

รุ่นปรับปรุงเมื่อ 08:55, 21 มกราคม 2552

สปูน (Spoon) อ่านว่า สะ-ปูน [n] แปลตามทับศัพท์ว่า ช้อน [อ.]

ประวัติความเป็นมา

ในด้านประวัติความเป็นมา ผู้เขียนไม่อาจทราบแน่ชัด จำความได้เพียงว่าได้รับการถ่ายทอดมาในขณะร่ำเรียนอยู่ในค่าย สอวน.เคมี ที่ลาดกระบัง และไม่ทราบว่ามีชื่อเรียกอื่นหรือไม่ คิดว่าชื่อนี้คงไม่ใช่ชื่อสากลเป็นแน่


คำและไพ่สำคัญที่ควรทราบ

ไพ่ทุกใบมีความสำคัญเท่าเทียมกัน

วิธีการเล่นและนับแต้ม

ไพ่,จำนวนที่ใช้, และแต้ม

สลาฟใช้ไพ่สำรับปกติ จำนวน 52 ใบ ไม่รวมโจ้กเกอร์สองใบ แต้มดอกเรียงตามปกติ คือ ใหญ่สุด โพธิ์ดำ->โพธิ์แดง->ข้าวหลามตัด->ดอกจิก ส่วนแต้มเลขเรียงต่างจากเกมอื่น ๆ คือ ใหญ่สุด 2->A->K->Q->J->10->9....->3 ทั้งนี้จะพิจารณาแต้มเลข ก่อนดอกเสมอ

ตัวอย่าง: ไพ่ 2 โพธิ์แดง ใหญ่กว่าไพ่ 9 โพธิ์ดำ (แต้มเลขมาก่อน) แต่ ไพ่ 2 โพธิ์แดง เล็กกว่าไพ่ 2 โพธิ์ดำ (เมื่อแต้มเลขเท่ากัน พิจารณาแต้มดอก)

นอกจากนี้ ยังมีวิธีลงหลายแบบด้วย คือ เดี่ยว (หนึ่งใบ) คู่ (สองใบ) ตอง (สามใบ) และโฟร์ท (สี่ใบ) โดยการลงแต่ละครั้ง ต้องลงไพ่เลขเดียวกัน กล่าวคือ ลงตอง 4 หมายถึง ลงไพ่เลข 4 สามใบ ไม่ใช่ ลงไพ่อะไรก็ได้สามใบ โดยทั่วไป ไพ่ตอง จะใหญ่กว่าไพ่เดี่ยว และไพ่โฟร์ทจะใหญ่กว่าไพ่คู่ วิธีการเปรียบเทียบแต้มในบรรดาคู่ ตอง โฟร์ท ใช้หลักการเปรียบเทียบเดียวกับไพ่เดี่ยวดังที่ได้อธิบายไปแล้ว

  • หมายเหตุ ในกรณีที่เปรียบเทียบไพ่คู่ สองคู่ ที่มีเลขด้วย คู่ใดที่มีโพธิ์ดำอยู่ด้วย จะเป็นคู่ที่ใหญ่กว่า

วิธีการเล่น

เริ่มเกม สลาฟทำไพ่ แจกไพ่ทั้งห้าสิบสองใบจนหมด โดยเริ่มแจกจากสลาฟ วนหนีคิง (ในกรณีทีี่วนหนีคิงมีสองวิธี ให้เลือกวิธีที่วนหนีควีนด้วย) แจกวนไปเรือ่ย ๆ จนกระทั่งไพ่หมดกอง

  • ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้คนเริ่มแจกวนทางใดก็ได้ตามใจ โดยเริ่มจากคนแจก


เปิดไพ่ของตนเองดู สลาฟ รองสลาฟ ควีน คิง ทำการแลกไพ่ให้เสร็จ ทั้งนี้ อย่าแลกไพ่ให้คนอื่นเห็น​หน้าไพ่ (และสลาฟกับรองสลาฟอย่าโกงโดยการให้ไพ่ที่ไม่ใช่ไพ่สูงสุด)

  • ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้ผ่านขั้นตอนการแลกไพ่ไป


เริ่มลงไพ่ สลาฟเริ่มลงไพ่อย่างไรก็ได้ หากเริ่มเกมด้วยไพ่เดี่ยว หรือตอง คนถัดไป (นับตามการวนแจกไพ่) ต้องลงไพ่เดี่ยว หรือตองที่สูงกว่า หากเป็นไพ่คู่ หรือโฟร์ท ก็ต้องลงไพ่คู่ หรือโฟร์ทที่สูงกว่า

  • ในกรณีเริ่มเกมจริง ๆ ยังไม่มีตำแหน่ง ให้เริ่มโดยคนที่มีไพ่ สามดอกจิก ทั้งนี้ไม่จำเป็นต้องลงไพ่ สามดอกจิก เป็นไพ่แรก


หากผู้เล่นไม่ต้องการลงไพ่ในตานั้น ให้บอกว่าผ่าน ผู้เล่นคนนั้นจะไม่สามารถลงไพ่ได้อีกจนกว่าจะขึ้นกองใหม่

หากผู้เล่นทุกคนยกเว้นคนสุดท้ายที่ลงไพ่ บอกผ่าน ผู้เล่นคนสุดท้ายที่ลงไพ่ จะคว่่ำกองไพ่ที่ลงไปแล้วทั้งหมด และลงไพ่ตั้งเป็นกองใหม๋

หากผู้เล่นคนใดสามารถเล่นไพ่หมดมือเป็นคนแรก จะได้เป็นคิง คนถัดไปเป็นควีน และสองคนสุดท้ายที่ไพ่หมดมือ จะเป็นรองสลาฟ กับสลาฟ จากนั้นจึงเริ่มเกมใหม่อีกครั้ง ถ้าเล่นจนพอใจแล้วจึงเลิกรากันไปเอง

กรณีพิเศษ:

1. กรณีที่ผู้เล่นเล่นจบและทิ้งไพ่ชุดหรือใบสุดท้ายลงมา และไม่มีผู้ใดในวงลงไพ่ต่อ คนที่อยู่ไกลสุด คือ คนสุดท้ายที่มีโอกาสในวงจะกลายเป็นคนตั้งกองใหม่คนแรก และลำดับการลงไพ่ในวงจะวนกลับ แต่หากมีคนในวงลงไพ่ต่อได้ เกมก็จะดำเนินต่อไปจากไพ่ที่คนนั้นลงโดยไม่เปลี่ยนลำดับการลงไพ่ (อย่างไรก็ตาม ในบางประเพณี จะพิจารณาเฉพาะคนที่ติดกับคนเพิ่งจบเกมเท่านั้น หากตัดสินใจเล่นต่อ เกมก็จะดำเนินต่อโดยไม่เปลี่ยนลำดับไพ่ แต่หากผ่าน ก็เริ่มเกมที่คนสุดท้ายที่มีโอกาสลงในวง และเปลี่ยนลำดับการลงไพ่ในวงเป็นวนอีกทาง)

2. กรณีที่มีการตั้งคิง ควีน รองสลาฟ และสลาฟเรียบร้อยแล้ว หากมีคนจบเกมได้ก่อนคิง คิงจะต้องตกไปเป็นสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น

3. กรณีที่มีการตั้งคิง ควีน รองสลาฟ และสลาฟเรียบร้อยแล้ว หากมีคนเป็นควีน ภายใต้คิงองค์เดิม เป็นเวลาเกินสามรอบ ควีนจะต้องกลายเป็นสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น ทั้งนี้ หากมีคิงที่่ตกลงมาด้วย คิงจะต้องเป็นสลาฟ ควีนเป็นรองสลาฟ และทุกลำดับร่นขึ้น

4. กรณีที่มีคนลงโฟร์ท และไม่มีคนลงโฟร์ทที่สูงกว่า แต้มของเกมจะ 'verse (มาจาก reverse) คือ ไพ่แต้มสูงสุดจะกลายเป็นไพ่แต้มต่ำสุด และไพ่แต้มต่ำสุดจะกลายเป็นไพ่สูงสุด อย่างไรก็ตาม หากมีคนลงโฟร์ทที่สูงกว่า ก็จะเป็นการหักล้าง ไม่สามารถทำการเวิร์ดแต้มได้ อย่างไรก็ตาม ผู้เล่นสามารถรอโอกาส ทำการเวิร์ดแต้มในตาอื่น ๆ ได้เพื่อทำให้แต้มสูงสุดกลับมาเป็นแต้มสูงสุดดังเดิม

จุดเด่นและความสนุก

จุดเด่นของเกมสลาฟคือว่า จะเล่นใช้ความคิดก็ได้ ไม่ใช้ความคิดก็ได้ ที่สำคัญ เป็นเกมที่พึ่งดวงเยอะมากพอสมควร อย่างไรก็ตาม มักมีคนจำแต้มไพ่และคุมเกมได้ ไม่ค่อยใช้ดวง แต่สุดท้าย ผู้เล่นประเภทนี้มักแพ้ผู้ที่มีดวงแรงอยู่ดี

ความสนุกของเกม เกิดขึ้นได้หลายแบบ

  • การตบกัน มิได้หมายความว่า ผู้เล่นตบหน้าฝ่ายตรงข้าม แต่หมายความว่า เป็นการลงไพ่ที่สูงกว่าอย่างเหนือชั้น เช่น ลงตอง 2 ข่มตอง A เป็นต้น การเล่นแบบนี้จะทำให้ทุกคน "โห" และกระตุ้นให้เกมเร้าใจ และผู้ตบสามารถส่งสายตายิ้มเยาะไปให้คนถูกตบ และเกมจะสนุกมากขึ้น เมื่อมีการตบกลับ และส่่งสายตายิ้มเยาะเป็นสองเท่า
  • การตัดดอก หมายถึง การที่ลงไพ่เลขเดียวกัน แต่ดอกสูงกว่า ตัดหน้าคนอื่น เช่น ไพ่หน้ากองตอนนี้คือ สามดอกจิก คนถัดมาลง สามโพธิ์ดำ แต่คนถัดไปมีสามโพธิ์แดง นับว่าเป็นการตัดดอก การตัดดอก จะเป็นการสร้างความหงุดหงิดให้แก่คนโดนตัด และทำให้ผู้อื่นในเกมรู้ว่า "ไอ้นี่มีไพ่เน่าอยู่ในมือ 55" เนื่องจากผู้ที่ถูกตัดดอกมักโมโหและมีการชักสีหน้าให้เห็นบ่อย ๆ
  • การเวิร์ดแต้มจะสร้างความเจ็บแค้นให้แก่ผู้ที่มีไพ่แต้มสูง และความบันเทิงให้แก่ผู้ที่มีไพ่แต้มต่ำมาก สามารถพลิกเกมมาชนะได้อย่างง่ายดาย
  • การดวลกันระหว่างสองคนสุดท้าย ถือว่าเป็นช่วงที่สนุกมากช่วงหนึ่งของเกม เพราะเป็นการประชันฝีมืออย่างหักเหลี่ยมเฉือนคม โดยเฉพาะการดวลด้วยคู่ในขณะที่อีกฝ่ายมีแต่ไพ่เดี่ยว จนกระทั่งคนเล่นคู่ไพ่หมดมือ เช่น คนมีคู่มีไพ่ คู่สาม คู่สี่ เดี่ยวห้าข้าวหลามตัด และมีสิทธิ์ลงก่อน ในขณะที่อีกฝ่ายมี K โพธิ์ดำใบเดียว แต่ได้ลงทีหลัง ฝ่ายคนมีคู่ก็จะปล่อยคู่จนหมดแล้วจึงปล่อยเดี่ยวใบสุดท้ายและชนะ ก่อให้เกิดความโกรธแค้นแก่ผู้ถือคิง แต่ดันกลายเป็นสลาฟ เป็นต้น
  • เป็นประเพณีนิยม ที่คิงมักจะดูถูกสลาฟยามที่สลาฟทำไพ่(สับ+แจกไพ่) ว่า งานต่ำต้อย หรืองานสลาฟ บางครั้ง คิงก็จะบ่นเมื่อยมือเพราะไม่ได้ทำไพ่เลย ปวดเมื่อยไปหมด รวมทั้งหัวเราะหรือยิ้มเยาะผู้อื่นยามที่ตัวเองได้เป็นคิงหลายตาติดต่อกัน และยามที่คิงตกไปเป็นสลาฟ มักจะแก้ตัวว่า สงสารสลาฟ อยากทำไพ่บ้าง ฯลฯ ดังนั้น ในวงไพ่สลาฟ จะมีการดูถูกเหยียดหยามกัน ตามระบบศักดินา ข้าทาสตามชื่อเกมโดยไม่ถือสากันแต่อย่างใด

การประยุกต์

การประยุกต์ของไพ่สลาฟ เกิดขึ้นเมื่อมีคนเล่นน้อยกว่าสี่คน หรือทุกคนเริ่มเบื่อเกมสลาฟตามประเพณี

การประยุกต์อย่างแรกคือ สลาฟจั่ว สลาฟจั่ว มีไว้สำหรับเล่น สองคนหรือสามคน การเล่นทำได้โดยการแจกไพ่มากกว่าจำนวนคนเล่นหนึ่งกอง เมื่อแจกเสร็จจึงทำการเล่นโดยไม่มีคิง ควีน สลาฟ รองสลาฟแต่อย่างใด ทั้งนี้ ถ้าหากจะผ่าน จะต้องจั่วไพ่เพิ่มอีกหนึ่งใบจากในกองที่เกินมานั้น ความสนุกจะอยู่ทีการรอคอยตองจากใบที่จะจั่ว หรืออาจจะได้สามดอกจิกก็ได้ เรียกว่าซวย

ยังมีการประยุกต์อีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นโดยนักเรียนทุนชาติไทยปีพุทธศักราช 2549 เรียกว่า สลาฟ ultimate เข้าใจว่าเป็นเกมที่สร้างขึ้นเพื่อแก้เบื่อโดยเฉพาะ สลาฟ ultimate เป็นเกมที่เล่นกันใน ultimate tournament เท่านั้น (คือผู้เล่นทั้งสี่เบื่อโลกมากจนต้องนั่งเล่นไพ่ให้ครบทุกแบบ รวมทั้งขึ้นเกมแบบพิเศษ เรียกว่า ultimate ขึ้น) สลาฟ ultimate เล่นได้เพียงสี่คน มิได้เล่นต่อกันเป็นวงจนกระทั่งบอกผ่าน แต่จะเล่นเป็นการดวลไพ่ทีละนัด นัดละหนึ่งใบ รวมสิบสามครั้ง ใครที่ได้แต้มมากที่สุด จะกลายเป็นผู้ชนะในสลาฟ ultimate