ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แรงและการเคลื่อนที่"

จาก TSWiki
(Changed math syntax)
(โครง)
 
แถว 15: แถว 15:
 
*ควรระลึกเสมอว่าแรงที่เกิดขึ้นนั้น สิ่งใดทำกับสิ่งใด และแรงใดเป็นแรงคู่ปฏิกิริยากับแรงใด
 
*ควรระลึกเสมอว่าแรงที่เกิดขึ้นนั้น สิ่งใดทำกับสิ่งใด และแรงใดเป็นแรงคู่ปฏิกิริยากับแรงใด
 
*อย่าเอาแรงคู่ปฏิกิริยามาหักล้างกัน เพราะกระทำกันคนละวัตถุเช่น หากเราต่อยกำแพง มือเราออกแรงกระทำกับกำแพง แรงคู่ปฏิกิริยาคือแรงที่กำแพงออกแรงกระทำกับมือเรา จะเห็นว่าสองแรงนี้ แรงแรกกระทำกับกำแพง และแรงที่สองกระทำกับมือ
 
*อย่าเอาแรงคู่ปฏิกิริยามาหักล้างกัน เพราะกระทำกันคนละวัตถุเช่น หากเราต่อยกำแพง มือเราออกแรงกระทำกับกำแพง แรงคู่ปฏิกิริยาคือแรงที่กำแพงออกแรงกระทำกับมือเรา จะเห็นว่าสองแรงนี้ แรงแรกกระทำกับกำแพง และแรงที่สองกระทำกับมือ
 +
 +
{{โครง}}

รุ่นปัจจุบัน เมื่อ 20:37, 24 มกราคม 2557

กฎของนิวตัน

  • 1. วัตถุที่ไม่ถูกแรงกระทำจะคงสภาพการเคลื่อนที่(นิ่งต่อไปหรือ เคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร็วคงที่)
  • 2. วัตถุที่ถูกแรงกระทำจะเคลื่อนที่อย่างมีความเร่ง
  • 3. แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา


กฎข้อที่หนึ่ง

ใช้สูตร <math> v = \frac{\Delta s} {\Delta t}</math>

กฎข้อที่สอง

ใช้สูตร <math>\vec F = m\vec a</math>

กฎข้อที่สาม

ข้อควรระวัง

  • ควรระลึกเสมอว่าแรงที่เกิดขึ้นนั้น สิ่งใดทำกับสิ่งใด และแรงใดเป็นแรงคู่ปฏิกิริยากับแรงใด
  • อย่าเอาแรงคู่ปฏิกิริยามาหักล้างกัน เพราะกระทำกันคนละวัตถุเช่น หากเราต่อยกำแพง มือเราออกแรงกระทำกับกำแพง แรงคู่ปฏิกิริยาคือแรงที่กำแพงออกแรงกระทำกับมือเรา จะเห็นว่าสองแรงนี้ แรงแรกกระทำกับกำแพง และแรงที่สองกระทำกับมือ
Icon draft32.png บทความ แรงและการเคลื่อนที่ ยังอยู่ในขั้นตอนของการขัดเกลาและเรียบเรียง คุณสามารถช่วย เพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ แรงและการเคลื่อนที่ ในภาษาอื่นคงไม่มีอีกแล้ว เพราะนี่คือ TSWiki ไม่ใช่ Wikipedia ต้องขอแสดงความเสียใจ